ต้องตรวจสอบพระ และ ตกลงเงื่อนไขการรับประกัน ให้เรียบร้อย
หากไม่เคยติดต่อ หรือรู้จักผู้ให้เช่ามาก่อน
แนะนำให้นัดดูองค์จริง
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์ใหญ่ วัดบวรนิเวศวิหาร ปี 2434
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์ใหญ่องค์นี้ Phra Kring Pavares of Wat Bowon Niwet เป็นอีกพิมพ์หนึ่งในพระกริ่งสกุลปวเรศที่ไม่ปรากฏพบเห็นมากนัก มีหลักฐานจากในขันน้ำมนต์ขนาดตั้งแต่ 12 นิ้ว ขึ้นไป จะพบเป็นพระประธานกึ่งกลาง หรือเป็นพระบริวารล้อมรอบในขันน้ำมนต์ (ขันสาคร) ที่มีขนาดใหญ่ ดังนั้น จึงการันตีได้ว่าพระองค์นี้ แบบพิมพ์ทรงนี้ เนื้อโลหะเช่นนี้ ชื่อว่าเป็นพระกริ่งปวเรศ เกินล้านเปอร์เซ็นต์ +++คำยืนยันจากคนขายพระในอดีต/ปัจจุบันมักพูดว่า พระกริ่งปวเรศ ยุคต้นนั้นมีไม่เกิน 20-30 องค์ และต้องมีแบบทรงตรงกับพระกริ่งปวเรศองค์หนึ่งเดียวที่อยู่ในเก๋งกระเบื้องดินเผาจีนในพิพิธภัณฑ์ของวัดบวรนิเวศวิหารปัจจุบันเท่านั้น!!! เป็นคำพูดที่ง่ายและเห็นแก่ตัวที่สุด... จากหลักฐานอันเป็นขันน้ำมนต์ปวเรศที่มีขนาด 3-4-9-12-14-16-19 และ 22 นิ้ว ปรากฏให้เห็นพระกริ่งและพระชัยวัฒน์ที่มีความหลากหลายทั้งแบบพิมพ์ทรง ขนาด และเนื้อโลหะ โดยในแต่ละขันบาตรน้ำมนต์นั้น ล้วนบรรจุพระกริ่ง 1 องค์บ้าง 3 องค์บ้าง 5 องค์บ้าง 6 องค์บ้าง 10 องค์บ้าง หรือมากเกินกว่านั้น อันจะมีจำนวนน้อยหรือมาก ย่อมเป็นไปตามขนาดเล็กใหญ่ของขันบาตรน้ำมนต์ ทั้งในขันบาตรน้ำมนต์มีรอยจารจากลายมือโดยรอบที่เป็นอักขระยันต์และไทยบอกที่มาของพิธีการ มีเหรียญบาตรน้ำมนต์ที่มีการระบุที่ระฤกงานมหาสมณุตตมาภิเศก (งานพระราชพิธีแต่งตั้งสมเด็จพระสังฆราช) อย่างชัดเจน เหรียญทั้งขนาดเล็ก (2.8x3.5 ซม.)และใหญ่ (4.3x5.5 ซม.) ประดับมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับขนาดของขันบาตรน้ำมนต์อีกเช่นกัน หรือหลักฐานอื่นๆ อีก เช่น ไม้คฑาปวเรศ ไม้ตะพดปวเรศ เชิงเทียนปวเรศ เก๋งจีนปวเรศ หุ่นพยนต์ปวเรศ เป็นต้น สอดคล้องกับการบันทึกของบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ มหามกุฏราชวิทยาลัย หน้า 5 วรรค 2 บันทึกไว้ว่า กรมพระยาปวเรศไม่ได้ออกแบบ จัดสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเศก ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ (ช่างหลวง) พระบรมวงศานุวงศ์ และไวยาวัจกรของวัดบวรนิเวศ ในสมัยนั้นจึงมีหลายแบบพิมพ์ทรง บางแบบใช้แม่พิมพ์เก่าก็มี เนื้อโลหะก็แตกต่างกัน บางองค์ก็แบบพิมพ์ใหม่ รวมทั้งที่อยู่ในขันน้ำมนต์ ตลับสีผึ้ง และยอดไม้เท้าของพระองค์ท่าน จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้ โดยหลวงชำนาญเลขา (หุ่น) เป็นผู้ขออนุญาตสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์... หรือผู้ที่กระหายในการเรียนรู้ สามารถสืบค้นศึกษาข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของ Google แล้วมวลมนุษยชาติ จะพบความจริงอันเป็นสิ่งไม่มีวันตาย
o หากมีบัญชี Facebook สามารถใช้ในการสมัครสมาชิกได้
o กรอกอีเมล/เบอร์โทรศัพท์ และรหัสผ่านที่ใช้เข้า Facebook
o กด “ตกลง” ก็จะเป็นสมาชิกเว็บไซด์พระพันธุ์ทิพย์ดอทคอม ได้ทันที
o ใส่ชื่ออีเมล และ รหัสผ่าน และ กดตกลง
o เข้าไปที่อีเมลที่ได้ลงทะเบียนไว้ ตรวจสอบอีเมลจาก prapantip@gmail.com เมื่อรับอีเมลแล้วให้กดที่ลิงค์ที่อยู่ในอีเมล เพื่อเข้าระบบ (บางครั้งอีเมล อาจไม่ได้อยู่ที่ Inbox กรุณาตรวจสอบที่ Junk Mail)
o ในครั้งต่อไป สามารถเข้าระบบ โดยกรอกอีเมล และ รหัสผ่าน ที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้
ต้อง เห็นรายละเอียดชัดเจน ทุกด้าน ทั้งองค์
ควร ลงรูปทุกด้าน (หน้า หลัง ด้านข้าง ด้านบน ด้านล่าง)
ห้าม ลงรูปไม่คมชัด ไม่ละเอียด เบลอ
ห้าม วางพระเครื่อง รวมหลายๆ องค์ ในภาพเดียว
ห้าม ลงรูปพระไม่ซ้ำกันใน 1 ประกาศ
สิ่งสำคัญ: ห้ามลงพระซ้ำกับพระที่เคยลงประกาศไปแล้ว และยังแสดงอยู่ในหน้าเว็บไซด์
สินค้าที่ห้ามลงประกาศ: ชุดพระในคอ, งานทำบุญ , ข่าวพระเครื่อง, โฆษณาร้านพระ, ใบรับประกันร้านพระ, ข่าวสารพระเครื่อง, งานประกวด หรือ สินค้าอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หากพบว่าลงพระไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามประเภท หรือ ลงสินค้าที่ไม่เกี่ยวข้อง ทางเว็บไซด์พระพันธุ์ทิพย์ดอทคอม ขอสงวนสิทธิ์ในการลบรายการพระนั้นๆ ออก โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
อ่านเพิ่มเติมที่ ลงรูปพระเครื่องแบบไหน ที่ทำให้คนเข้าชมเยอะ
- ประเภทพระ (เลือกประเภทพระ 1 รายการ) ดูรายละเอียดประเภทพระ
- ชื่อพระ
- ราคา (เฉพาะตัวเลขเท่านั้น)
- รายละเอียดพระ
- รูปพระ (ลงรูปพระได้ 1-5 รูป)
- รูปถ่ายบัตรประชาชน+หน้าสมุดบัญชีธนาคาร 1 รูป
- พื้นที่/จังหวัด
- ผู้ขาย (ชื่อ/นามสกุล)
- เบอร์โทรศัพท์ (เฉพาะตัวเลขเท่านั้น)
- Line id
สถานะ | รายละเอียด |
---|---|
รอตรวจสอบ | อยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อมูล |
ไม่ผ่านการตรวจสอบ | เนื่องจาก ภาพไม่ชัด / ข้อมูลไม่ครบ /ผิดเงื่อนไข (เช่น ลงพระซ้ำ) เมื่อไม่ ผ่านการตรวจสอบจะลบประกาศออกทันที หากต้องการแก้ไขหรือเพิ่มเติมให้ลงใหม่เท่านั้น |
กำลังใช้งาน | พระแสดงหน้าเว็บไซด์แล้ว จนถึงวันที่ ..../...../..... |