ต้องตรวจสอบพระ และ ตกลงเงื่อนไขการรับประกัน ให้เรียบร้อย
หากไม่เคยติดต่อ หรือรู้จักผู้ให้เช่ามาก่อน
แนะนำให้นัดดูองค์จริง
พระกริ่งปวเรศ เนื้อสัมฤทธิ์ วัดบวรนิเวศวิหาร ปี 2434
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์ขันน้ำมนต์ เนื้อนวโลหะ วัดบวรนิเวศวิหาร ปี 2434 Phra Kring Pavares of Wat Bowon Niwet แบบพิมพ์นี้มีพบเห็นมากที่สุดประดับอยู่กึ่งกลางบ้าง ล้อมรายรอบบ้างในขันน้ำมนต์ปวเรศของแต่ละขนาด ที่สร้างในงานพระราชพิธีมหาสมณุตตมาภิเศก สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ในปี ร.ศ.110 +++คำยืนยันจากคนขายพระในอดีต/ปัจจุบันมักพูดว่า พระกริ่งปวเรศ ยุคต้นนั้นมีไม่เกิน 20-30 องค์ และต้องมีแบบทรงตรงกับพระกริ่งปวเรศองค์หนึ่งเดียวที่อยู่ในเก๋งกระเบื้องดินเผาจีนในพิพิธภัณฑ์ของวัดบวรนิเวศวิหารปัจจุบันเท่านั้น!!! เป็นคำพูดที่ง่ายและเห็นแก่ตัวที่สุด... จากหลักฐานอันเป็นขันน้ำมนต์ปวเรศที่มีขนาด 3-4-9-12-14-16-19 และ 22 นิ้ว ปรากฏให้เห็นพระกริ่งและพระชัยวัฒน์ที่มีความหลากหลายทั้งแบบพิมพ์ทรง ขนาด และเนื้อโลหะ โดยในแต่ละขันบาตรน้ำมนต์นั้น ล้วนบรรจุพระกริ่ง 1 องค์บ้าง 3 องค์บ้าง 5 องค์บ้าง 6 องค์บ้าง 10 องค์บ้าง หรือมากเกินกว่านั้น อันจะมีจำนวนน้อยหรือมาก ย่อมเป็นไปตามขนาดเล็กใหญ่ของขันบาตรน้ำมนต์ ทั้งในขันบาตรน้ำมนต์มีรอยจารจากลายมือโดยรอบที่เป็นอักขระยันต์และไทยบอกที่มาของพิธีการ มีเหรียญบาตรน้ำมนต์ที่มีการระบุที่ระฤกงานมหาสมณุตตมาภิเศก (งานพระราชพิธีแต่งตั้งสมเด็จพระสังฆราช) อย่างชัดเจน เหรียญทั้งขนาดเล็ก (2.8x3.5 ซม.) และใหญ่ (4.3x5.5 ซม.) ประดับมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับขนาดของขันบาตรน้ำมนต์อีกเช่นกัน หรือหลักฐานอื่นๆ อีก เช่น ไม้คฑาปวเรศ ไม้ตะพดปวเรศ เชิงเทียนปวเรศ เก๋งจีนปวเรศ หุ่นพยนต์ปวเรศ เป็นต้น สอดคล้องกับการบันทึกของบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ มหามกุฏราชวิทยาลัย หน้า 5 วรรค 2 บันทึกไว้ว่า กรมพระยาปวเรศไม่ได้ออกแบบ จัดสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเศก ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ออกแบบโดยช่างสิบหมู่ (ช่างหลวง) พระบรมวงศานุวงศ์ และไวยาวัจกรของวัดบวรนิเวศ ในสมัยนั้นจึงมีหลายแบบพิมพ์ทรง บางแบบใช้แม่พิมพ์เก่าก็มี เนื้อโลหะก็แตกต่างกัน บางองค์ก็แบบพิมพ์ใหม่ รวมทั้งที่อยู่ในขันน้ำมนต์ ตลับสีผึ้ง และยอดไม้เท้าของพระองค์ท่าน จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้ โดยหลวงชำนาญเลขา (หุ่น) เป็นผู้ขออนุญาตสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์... หรือผู้ที่กระหายในการเรียนรู้ สามารถสืบค้นศึกษาข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของ Google แล้วมวลมนุษยชาติ จะพบความจริงอันเป็นสิ่งไม่มีวันตาย
o หากมีบัญชี Facebook สามารถใช้ในการสมัครสมาชิกได้
o กรอกอีเมล/เบอร์โทรศัพท์ และรหัสผ่านที่ใช้เข้า Facebook
o กด “ตกลง” ก็จะเป็นสมาชิกเว็บไซด์พระพันธุ์ทิพย์ดอทคอม ได้ทันที
o ใส่ชื่ออีเมล และ รหัสผ่าน และ กดตกลง
o เข้าไปที่อีเมลที่ได้ลงทะเบียนไว้ ตรวจสอบอีเมลจาก prapantip@gmail.com เมื่อรับอีเมลแล้วให้กดที่ลิงค์ที่อยู่ในอีเมล เพื่อเข้าระบบ (บางครั้งอีเมล อาจไม่ได้อยู่ที่ Inbox กรุณาตรวจสอบที่ Junk Mail)
o ในครั้งต่อไป สามารถเข้าระบบ โดยกรอกอีเมล และ รหัสผ่าน ที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้
ต้อง เห็นรายละเอียดชัดเจน ทุกด้าน ทั้งองค์
ควร ลงรูปทุกด้าน (หน้า หลัง ด้านข้าง ด้านบน ด้านล่าง)
ห้าม ลงรูปไม่คมชัด ไม่ละเอียด เบลอ
ห้าม วางพระเครื่อง รวมหลายๆ องค์ ในภาพเดียว
ห้าม ลงรูปพระไม่ซ้ำกันใน 1 ประกาศ
สิ่งสำคัญ: ห้ามลงพระซ้ำกับพระที่เคยลงประกาศไปแล้ว และยังแสดงอยู่ในหน้าเว็บไซด์
สินค้าที่ห้ามลงประกาศ: ชุดพระในคอ, งานทำบุญ , ข่าวพระเครื่อง, โฆษณาร้านพระ, ใบรับประกันร้านพระ, ข่าวสารพระเครื่อง, งานประกวด หรือ สินค้าอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หากพบว่าลงพระไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามประเภท หรือ ลงสินค้าที่ไม่เกี่ยวข้อง ทางเว็บไซด์พระพันธุ์ทิพย์ดอทคอม ขอสงวนสิทธิ์ในการลบรายการพระนั้นๆ ออก โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
อ่านเพิ่มเติมที่ ลงรูปพระเครื่องแบบไหน ที่ทำให้คนเข้าชมเยอะ
- ประเภทพระ (เลือกประเภทพระ 1 รายการ) ดูรายละเอียดประเภทพระ
- ชื่อพระ
- ราคา (เฉพาะตัวเลขเท่านั้น)
- รายละเอียดพระ
- รูปพระ (ลงรูปพระได้ 1-5 รูป)
- รูปถ่ายบัตรประชาชน+หน้าสมุดบัญชีธนาคาร 1 รูป
- พื้นที่/จังหวัด
- ผู้ขาย (ชื่อ/นามสกุล)
- เบอร์โทรศัพท์ (เฉพาะตัวเลขเท่านั้น)
- Line id
สถานะ | รายละเอียด |
---|---|
รอตรวจสอบ | อยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อมูล |
ไม่ผ่านการตรวจสอบ | เนื่องจาก ภาพไม่ชัด / ข้อมูลไม่ครบ /ผิดเงื่อนไข (เช่น ลงพระซ้ำ) เมื่อไม่ ผ่านการตรวจสอบจะลบประกาศออกทันที หากต้องการแก้ไขหรือเพิ่มเติมให้ลงใหม่เท่านั้น |
กำลังใช้งาน | พระแสดงหน้าเว็บไซด์แล้ว จนถึงวันที่ ..../...../..... |